รายวิชา ระดับปริญญาศึกษา

รหัสวิชา

 

ชื่อวิชา

3503201

 
 
การจัดการระบบเครือข่ายและการสื่อสารข้อมูลธุรกิจด้วยคอมพิวเตอร์
(
Network System Management and Computer Application in Business
)
  ผู้สอน :  ปรมัตถ์ปัญปรัชญ์  ต้องประสงค์    โทร. 022445747-48  email:phorramatpanyaprat@hotmail.com
     

คำอธิบาย  รายวิชา

 

ศึกษา วิเคราะห์ และออกแบบประยุกต์การใช้ระบบคอมพิวเตอร์เครือข่าย เพื่อเป็นเครื่องมือในการจัดกลุ่มระบบการแบ่งกลุ่ม การปฏิบัติงานภายในองค์การธุรกิจ  การจัดระบบสำนักงานสาขา และการสื่อสารข้อมูลทางการตลาด และข่าวสารทางธุรกิจทั้งเครือข่ายภายใน (Intranet) และภายนอกองค์การ (Internet)

วัตถุประสงค์

 

1. เพื่อให้ผู้ศึกษาทราบ มีความรู้และเข้าใจถึงโครงสร้างของระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ระบบการสื่อสารข้อมูล

   

2. เพื่อให้ผู้ศึกษามีความรู้ ความเข้าใจถึงสัญญาณข้อมูล อุปกรณ์ที่ใช้ในการสื่อสารและระบบการส่งข้อมูลแบบต่าง ๆ

 

3. เพื่อให้ผู้ศึกษามีความรู้ความเข้าใจในสถาปัตยกรรมของระบบเครือข่าย และรูปแบบการสื่อสารข้อมูล การจัดกลุ่มระบบ การปฏิบัติงานภายในองค์กร การจัดระบบสาขา การสื่อสารข้อมูลทางการตลาด ข่าวสารธุรกิจ ทั้งเครือข่ายภายใน และภายนอกองค์กร

 

4. เพื่อให้ผู้ศึกษาสามารถนำหลักการสื่อสารข้อมูลด้วยระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์  และโปรแกรมประยุกต์มาประยุกต์ใช้ในงานทางธุรกิจได้

 

5.  เพื่อให้ผู้ศึกษามีความรู้ความเข้าใจในเรื่องความมั่งคงปลอดภัยของระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์

 

6. เพื่อให้ผู้ศึกษาสามารถบูรณาการการใช้งานเทคโนโลยีระบบคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีเครือข่าย การบริหารและจัดการระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ในการทำธุรกิจผ่านระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ และสามารถนำมาประยุกต์ใช้ในงานธุรกิจได้

   แผนการเรียน

ผลการเรียนรู้

  1. นักศึกษามีความรู้ละเข้าใจถึงโครงสร้างของระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ระบบการสื่อสารข้อมูล
    2. นักศึกษามีทักษะในการออกแบบระบบเครือข่าย โดยมีความรู้ ความเข้าใจถึงสัญญาณข้อมูล อุปกรณ์ที่ใช้ในการสื่อสารและระบบการส่งข้อมูลแบบต่าง ๆ
  3. นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจในสถาปัตยกรรมของระบบเครือข่าย และรูปแบบการสื่อสารข้อมูล การจัดกลุ่มระบบ การปฏิบัติงานภายในองค์กร การจัดระบบสาขา การสื่อสารข้อมูลทางการตลาด ข่าวสารธุรกิจ ทั้งเครือข่ายภายใน และภายนอกองค์กร
  4. นักศึกษาสามารถนำหลักการสื่อสารข้อมูลด้วยระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์  และโปรแกรมประยุกต์มาประยุกต์ใช้ในงานทางธุรกิจได้
    5. นักศึกษามีความรู้วามเข้าใจในเรื่องความมั่งคงปลอดภัยของระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
    6. นักศึกษาสามารถบูรณาการการใช้งานเทคโนโลยีระบบคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีเครือข่าย การบริหารและจัดการระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ในการทำธุรกิจผ่านระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ และสามารถนำมาประยุกต์ใช้ในงานธุรกิจได้

สัปดาห์ที่ 1

  รายการเรียน  
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบเครือข่าย
   
1.1 การสื่อสารข้อมูลเบื้องต้นและความหมาย
 
1.2 องค์ประกอบและชนิดของการสื่อสารข้อมูล
 
1.3 เครือข่ายการสื่อสารข้อมูล
 
1.4 อุปกรณ์ในการรับ-ส่งข้อมูล
  1.5 ระบบมาตรฐานสากล
  1.6 รหัสสากลที่ใช้ในการส่งสัญญาณข้อมูลทางคอมพิวเตอร์
  1.7 องค์การกับการใช้การสื่อสารข้อมูล

สัปดาห์ที่ 2

 
การส่งและรับข้อมูล
 
  2.1 การส่งและรับข้อมูล
 
2.2 ตัวกลางของสัญญาณ
 
2.3 รูปแบบของการส่งสัญญาณ
 
2.4 ลักษณะการทำงานของการส่งข้อมูล

สัปดาห์ที่ 3

 
การแปลงสัญญาณข้อมูล
    3.1 ประเภทสัญญาณข้อมูล 
  3.2 ประเภทของระบบสื่อสารข้อมูล
  3.3 การส่งสัญญาณแบบอะนาล็อกและดิจิตอล
  3.4 วิธีการเลือกการส่งสัญญาณข้อมูล
  3.5 การมอดูเลตสัญญาณอะนาล็อก
  3.6 การเข้ารหัสสัญญาณดิจิตอล
  3.7 การแปลงสัญญาณดิจิตอลเป็นสัญญาณอะนาล็อก
  3.8 การแปลงสัญญาณอะนาล็อกเป็นสัญญาณดิจิตอล

สัปดาห์ที่ 4

 
การเชื่อมโยงการสื่อสารและชนิดของสื่อกลาง
    4.1 รูปแบบการเชื่อมโยงการสื่อสารข้อมูล
 
4.2 ชนิดของสื่อกลางในการสื่อสารข้อมูล

สัปดาห์ที่ 5

 
เทคนิคการสื่อสารข้อมูลดิจิตอล
    5.1  เทคนิคการสื่อสารข้อมูลดิจิตอล 
 
5.2 การสื่อสารข้อมูลแบบอนุกรมและแบบขนาน 
  5.3  การส่งข้อมูลแบบอะซิงโครนัส 
  5.4 การส่งข้อมูลแบบซิงโครนัส

สัปดาห์ที่ 6

 
อุปกรณ์ที่ใช้ในการสื่อสารข้อมูล
    6.1 อุปกรณ์ที่ใช้ในการสื่อสารข้อมูล
 
6.2 การมัลติเพล็กซ์สัญญาณข้อมูล

สัปดาห์ที่ 7

  สถาปัตยกรรมเครือข่าย
    7.1 สถาปัตยกรรมเครือข่าย
  7.2 สถาปัตยกรรมเครือข่าย  OSI
  7.3 สถาปัตยกรรมเครือข่าย  TCP/IP
  7.4 สถาปัตยกรรมเครือข่าย OSI กับอุปกรณ์เครือข่าย

สัปดาห์ที่ 8

 
สอบกลางภาค [Midterm Examination]

สัปดาห์ที่ 9

  โปรโตคอล TCP/IP
    9.1 ความหมายของโปรโตคอล
  9.2 โปรโตคอล TCP/IP
  9.3 การอ้างอิงอุปกรณ์ในเครือข่าย
  9.4 IP Address
  9.5 การจัดลำดับชั้นของเครือข่าย
  9.6 Subnet
  9.7 โครงสร้างของโปรโตคอล TCP/IP

สัปดาห์ที่ 10

 
โปรโตคอล
    10.1 โปรโตคอล TTY
 
10.2 โปรโตคอล BSC
 
10.3 โปรโตคอล SDLC
 
10.4 โปรโตคอล HDLC
 
10.5 โปรโตคอล  X.25
  10.6 โปรโตคอล ATM

สัปดาห์ที่ 11

 
ระบบเครือข่ายเบื้องต้น
   
11.1 ความสัมพันธ์ระหว่างระบบเทคโนโลยีสารสนเทศกับเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
 
11.2 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
  11.3 บริการต่างๆ บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
  11.4 ลักษณะการเชื่อมต่อเข้ากับระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
  11.5 ระบบหมายเลขไอพี
 
11.6 ระบบชื่อโดเมน
 
11.7 การนำอินเทอร์เน็ตไปประยุกต์ใช้งานในด้านต่างๆ
  11.8 ระบบอินทราเน็ต
  11.9 ประโยชน์ของระบบอินทราเน็ต

สัปดาห์ที่ 12

 
การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
    12.1 องค์ประกอบ
 
12.2 ลักษณะรูปแบบของธุรกิจ
 
12.3 ข้อดี
 
12.4 ข้อจำกัด
 
12.5 แนวทางการแก้ไขปัญหา

สัปดาห์ที่ 13

  กฎหมายพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์และพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550
    13.1 กฎหมายธุรกรรมพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
  13.2 กฎหมายคุ้มครองข้อมูล
  13.3 กฎหมายอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์
  13.4 กฎหมายการแลกเปลี่ยนข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์
  13.5 กฎหมายลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์
  13.6 กฎหมายการโอนเงินทางอิเล็กทรอนิกส์
  13.7 กฎหมายโทรคมนาคม
  13.8 กฎหมายทรัพย์สินทางปัญญา

สัปดาห์ที่ 14

  ระบบรักษาความปลอดภัยของข้อมูลทางธุรกิจในระบบเครือข่าย
    14.1 การรักษาความมั่นคง ปลอดภัย ในระบบคอมพิวเตอร์
  14.2 การรักษาความมั่นคงปลอดภัยในระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต

สัปดาห์ที่ 15

 
ทบทวน บทเรียน สรุป ตอบข้อซักถาม

สัปดาห์ที่ 16

 
สอบปลายภาค (กรณีสอบนอกตาราง)

การวัดและประเมินผล

 
1.1.วัดความเข้าใจ และความสามารถในการเรียนรู้
 
2.วัดความสามารถนำเสนอกรณีศึกษาด้านการจัดการระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
3.วัดความสามารถในการศึกษาระบบการจัดการเครือข่าย
 
4.วัดความเข้าใจในการวางระบบพื้นฐานของระบบเครือข่าย และการสื่อสการข้อมูลในธุรกิจ
 
5.วัดความสามารถในการวิเคราะห์สภาพของปัญหาที่เกิดจากระบบเครือข่าย จากการดำเนินธุรกิจ

การวัดผล

 
คะแนนเต็ม 100 แบ่งเป็น  2 ส่วน ดังนี้
   
1.คะแนนระหว่างภาค     ร้อยละ     70
   
    1.1 งานที่ได้รับมอบหมายเดี่ยว                                     ร้อยละ 20
   
    1.2 งานที่ได้รับมอบหมายกลุ่ม                                      ร้อยละ 20
   
    1.3 สอบเก็บคะแนน                      ร้อยละ 30
   
2. คะแนนสอบปลายภาค   ร้อยละ   30
   
 

การประเมินผล

 
เกณฑ์การประเมินผล ใช้วิธีอิงเกณฑ์ ดังนี้
   
ระดับการเรียน  
ค่าร้อยละ   ความหมายค่า  ระดับคะแนน
   
A        
95-100 ดีเยี่ยม 4.00
   
B+
85-89 ดีมาก 3.50
   
B 
75-84 ดี 3.00
   
C+
70-74 ดีพอใช้ 2.50
   
C
60-69 พอใช้ 2.00
   
D+
59-55 อ่อน 1.50
   
D
50-54 อ่อนมาก 1.00
   
F
ต่ำกว่า 50 ตก 0.00
     
    งานที่มอบหมาย
     
     
     
     
     
     
     
     
    แหล่งอ้างอิง/เอกสาร-สื่อที่ใช้ในการอ้างอิงประกอบการเรียน
1.  
1.ตำราหลักที่ใช้
 
  โอภาส  เอี่ยมสิริวงศ์.(2548).เครือข่ายคอมพิวเตอร์และการสื่อสาร.กรุงเทพมหานคร : ซีเอ็ดยูเคชั่น.
2.  
1.Website อ้างอิง
    http://www.arc.dusit.ac.th
  http://dusithost.dusit.ac.th/!phorramatpanyaprat_ton
  http://www.google.co.th
  เวปไซต์ที่เกี่ยวข้องกับโครงสร้างข้อมูล และอัลกอริทึม
3.  
1.หนังสืออ่านประกอบ
    สัลยุทธ์ สว่างวรรณ.(2544). การสื่อสารข้อมูลระดับพื้นฐาน. เรียบเรียงจาก Business Data  Communications: Gary B.     Shelly :ซีเอ็ดยูเคชั่น.
  ณรงค์ชัย นิมิตบุณอนันต์.(2542).Computer Security for E-Commerce : กรุงเทพมหานคร: ซีเอ็ดยูเคชั่น.
  พิพัฒน์ หิรัณย์วณิชชากร.(2544).ระบบการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์. กรุงเทพมหานคร: ซีเอ็ดยูเคชั่น.
  ริกนีย์, สตีฟว์.(2540).การออกแบบและจัดการระบบเครือข่าย คู่มือที่ปรึกษาส่วนตัว. กรุงเทพมหานคร: ซีเอ็ดยูเคชั่น.
  Behrouz Forouzan.(2003). Data Commutations and Networking.(3rd edition).MCGraw-Hill.
  Kurt Hudson.(2003).CCNA Guide to Cisco Networking. 2 nd edition. Thomson.
  Cisco CCNA Training CD-ROM, Cisco Press.
4.  
1.CD-ROM
5.  
1.กรณีศึกษาด้านงานที่เกี่ยวข้องกับการการสื่อสารข้อมูล ด้วยระบบคอมพิวเตอร์
6.  
1.เอกสารประกอบการบรรยาย
     
     
     
     

 

+ up .