พค. 31 ลูกหนี้ที่ได้ตัดเป็นสูญไปแล้วนำเงินมาชำระ 5,000 บาท (หนี้สูญที่ได้รับคืนนี้เข้าข่ายกฎหมายภาษีอากร)
รายการวันที่ 1 มกราคม 2538 บริษัทกล้วย จำกัด ลงบัญชีอย่างไร
เดบิตเงินสด 500,000 ค่านายหน้า 40,000 เครดิต เจ้าหนี้เงินกู้ 540,000
เดบิตเงินสด 500,000 ค่านายหน้า 40,000 เครดิต เจ้าหนี้เงินกู้ 540,000
เดบิตเงินสด 368,000 ค่านายหน้า 32,000 เครดิต เจ้าหนี้เงินกู้ 400,000
เดบิตเงินสด 460,000 ค่านายหน้า 40,000 เครดิต เจ้าหนี้เงินกู้ 500,000
7. จากข้อ 6 รายการวันที่ 1 กพ. บริษัทสวนดุสิตลงบัญชีอย่าง
เดบิตเงินสด 256,000 ค่านายหน้า 16,000 เงินประกันค่าใช้จ่าย 48,000 เครดิต ลูกหนี้ 320,000
เดบิตเงินสด 256,000 ขาดทุนจากการจำหน่ายลูกหนี้ 16,000 เงินประกันค่าใช้จ่าย 48,000 เครดิต ลูกหนี้ 320,000
เดบิตลูกหนี้ 320,000 เครดิต เงินสด 256,000 รายได้ค่านายหน้า 16,000 เงินประกันค่าใช้จ่าย 48,000
เดบิตลูกหนี้ 320,000 เครดิต เงินสด 256,000 รายได้จากการซื้อลูกหนี้ 16,000 เงินประกันค่าใช้จ่าย 48,000
8. จากข้อ 7 ฝ่ายของบริษัท กล้วยจำกัด ลงบัญชีอย่างไร
เดบิตเงินสด 256,000 ค่านายหน้า 16,000 เงินประกันค่าใช้จ่าย 48,000 เครดิต ลูกหนี้ 320,000
เดบิตเงินสด 256,000 ขาดทุนจากการจำหน่ายลูกหนี้ 16,000 เงินประกันค่าใช้จ่าย 48,000 เครดิต ลูกหนี้ 320,000
เดบิตลูกหนี้ 320,000 เครดิต เงินสด 256,000 รายได้ค่านายหน้า 16,000 เงินประกันค่าใช้จ่าย 48,000
เดบิตลูกหนี้ 320,000 เครดิต เงินสด 256,000 รายได้จากการซื้อลูกหนี้ 16,000 เงินประกันค่าใช้จ่าย 48,000
9. รายการหนี้สูญของวันที่ 15 มีนาคม ลงบัญชีอย่างไร
เดบิตหนี้สูญ 4,500 เครดิตลูกหนี้ 4,500
เดบิตหนี้สูญ 4,500 ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ 4,500 เครดิต ลูกหนี้ 4,500 หนี้สงสัยจะสูญ 4,500
เดบิตค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ 4,500 เครดิต ลูกหนี้ 4,500
เดบิตค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ 4,500 เครดิตหนี้สงสัยจะสูญ 4,500
10. รายการสินค้าที่ลูกหนี้ส่งคืนมา ในวันที่ 15 บริษัทกล้วยจำกัด ลงบัญชีอย่างไร
เดบิตเงินประกันค่าใช้จ่าย 8,000 เครดิตลูกหนี้ 8,000
เดบิตรับคืนสินค้า 8,000 เครดิตลูกหนี้ที่โอน 8,000
เดบิตรับคืนสินค้า 8,000 เครดิตเงินสด 8,000
เดบิตรับคืนสินค้า 8,000 เครดิตเงินประกันค่าใช้จ่าย 8,000
11. รายการวันที่ 1 เมษายน บริษัทดุสิต จำกัด ลงบัญชีอย่างไร
เดบิตเงินสด 312,500 ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ 2,000 เครดิตลูกหนี้ 314,500
เดบิตเงินสด 312,500 หนี้สูญ 2,000 เครดิตลูกหนี้ 314,500
เดบิตเงินสด 312,500 ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ 2,000 รับคืนสินค้า 3,000 ส่วนลดจ่าย 2,500 เครดิตลูกหนี้ 320,000
เดบิตเงินสด 312,500 หนี้สูญ2,000 รับคืนสินค้า 3,000 ส่วนลดจ่าย 2,500 เครดิตลูกหนี้ 320,000
12. รายการวันที่ 31 พฤษภาคม ลงบัญชีอย่างไร
เดบิตเงินสด 5,000 เครดิต ลูกหนี้ 5,000
เดบิตลูกหนี้ 5,000 เครดิตค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ 5,000
เดบิตลูกหนี้ 5,000 เงินสด 5,000 เครดิตหนี้สูญได้รับคืน 5,000 ลูกหนี้ 5,000
เดบิตค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ 5,000 เครดิตหนี้สงสัยจะสูญ 5,000
13. ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญมียอดยกมา 3,000 บาท ทางด้านเดบิต ให้คิดค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ 3% ของลูกหนี้ปลายงวด ซึ่งมีลูกหนี้ปลายงวดเท่ากับ 100,000 บาท ลงบัญชีอย่างไร
เดบิตหนี้สงสัยจะสูญ 3,000 เครดิตค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ 3,000
เดบิตหนี้สงสัยจะสูญ 6,000 เครดิตค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ 6,000
ไม่ต้องลงบัญชีเพราะที่ตั้งเพิ่มกับยอดยกมามียอดเท่ากัน
เดบิตค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ 6,000 เครดิตหนี้สงสัยจะสูญ 6,000
14. 1 กันยายน 2541 นาย ก ซื้อสินค้า จำนวน 6,000 บาท เงื่อนไขการขาย 2/10,n/30 ณ 31 ธันวาคม ซึ่งเป็นวันปิดบัญชี อยากทราบว่านาย ก พ้นกำหนดชำระเงินไปกี่วัน
121
113
91
57
15. มีค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญยกมา 1,500 บาท สิ้นงวดมีการคิดค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญจากยอดขาย ซึ่งค่าเผื่อที่คิดได้เท่ากับ 1,200 บาท จะลงบัญชีอย่างไร
เดบิตค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ 300 เครดิตหนี้สงสัยจะสูญ 300
เดบิตค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ 1,200 เครดิตหนี้สงสัยจะสูญ 1,200
เดบิตหนี้สงสัยจะสูญ 300 เครดิตค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ 300
เดบิตหนี้สงสัยจะสูญ 1,200 เครดิตค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ 1,200
คะแนนที่ได้ =
คำตอบที่ถูกต้อง
โดยอาจารย์สนธยา เรืองหิรัญ
สงวนลิขสิทธิ์