รายวิชา ระดับปริญญาศึกษา

รหัสวิชา

 

ชื่อวิชา

4122701

 
 
ระบบคอมพิวเตอร์และสถาปัตยกรรม  3(2-2)
(
Computer System and Architecture
)
  ผู้สอน :  ปรมัตถ์ปัญปรัชญ์  ต้องประสงค์    โทร. 022445747-48 email:phorramatpanyaprat@hotmail.com
     

คำอธิบาย    รายวิชา

 

หลักการทำงานของฮาร์ดแวร์ ซอฟท์แวร์ โครงสร้างและองค์ประกอบในการทำงานของคอมพิวเตอร์ ระบบงานต่างๆ ของคอมพิวเตอร์ เช่น หน่วยความจำ หน้าที่วงจรลอจิกและตรรก ระบบบัส สัญญาณสั่งการและวงจรควบคุม หลักการทำงานของไมโครโปรเซสเซอร์เบื้องต้น ระบบออนไลน์  อินเตอร์ แอคทีฟ  แบทช์ เป็นต้น

จุดประสงค์

 

1.  เพื่อให้นักศึกษาสามารถเข้าใจถึงองค์ประกอบและวิวัฒนาการของสถาปัตยกรรมระบบคอมพิวเตอร์

   

2.  เพื่อให้นักศึกษาสามารถบอกถึงหน้าที่และการทำงานของอุปกรณ์ต่าง ๆ ที่ประกอบเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ได้ ส่วนนำเข้า ส่วนประมวลผล หน่วยความจำ และการแสดงผล

 

3.  เพื่อให้นักศึกษาสามารถเข้าใจกลไกการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์ทั้งการทำงาน การออกแบบ ด้านฮาร์ดแวร์และซอฟท์แวร์

 

4.  เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจระบบวงจรลอจิก วงจรดิจิตอล วงจรรวม ระบบบัสการสื่อสาร การเชื่อมต่อ การใช้สัญญาณควบคุม และเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้อง

 

5.  เพื่อให้นักศึกษาสามารถเข้าใจกระบวนการประมวลผล แบบ ออนไลน์ อินเตอร์แอคทีฟ และแบทซ์ ได้

   

ผลการเรียนรู้

  1. ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจถึงองค์ประกอบและวิวัฒนการของสถาปัตยกรรมระบบคอมพิวเตอร์
    2. ผู้เรียนมีความเข้าใจ และสามารถบอกได้ถึงหน้าที่และการทำงานของอุปกรณ์ต่างๆ ที่ประกอบเป็นเครื่อง คอมพิวเตอร์ได้ ทราบถึงส่วนนำเข้าส่วนประมวลผล หน่วยความจำ และการแสดงผล
  3. ผู้เรียนมีความสามารถสามารถเข้าใจกลไกการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์ทั้งการทำงาน การออกแบบ ด้านฮาร์ดแวร์และซอฟท์แวร์
  4. ผ็เรียนมีความเข้าใจระบบวงจรลอจิก วงจรดิจิตอล วงจรรวม ระบบบัสการสื่อสาร การเชื่อมต่อ การใช้สัญญาณควบคุม และเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้อง
  5. ผู้เรียนมีความสามารถเข้าใจกระบวนการประมวลผล แบบ ออนไลน์ อินเตอร์แอคทีฟ และแบทซ์ ได้
    แผนการเรียน

 

  รายการเรียน

สัปดาห์ที่ 1-2

 

แนะนำเกี่ยวกับการเรียนการสอนชี้แจงรายละเอียดเนื้อหาวิชาทั้งภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 1. บทนำ

 
   
1.1 วิวัฒนาการของสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์
 
1.1.1 ความหมายวงจรรวม
 
1.1.2 ชนิดวงจรรวม
 
1.2 สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ทั่วไป
 
1.2.1 ภาพรวมขององค์ประกอบคอมพิวเตอร์
 
1.2.2 อธิบายความสัมพันธ์ของสถาปัตยกรรม

สัปดาห์ที่ 3

 

2. หลักการออกแบบวงจรดิจิตอล

   
2.1 ความรู้พื้นฐานทางดิจิตอล
  2.2.1 ความหมายของดิจิตอล
 
2.2.1 ลักษณะสำคัญของวงจรดิจิตอล
 
2.2.2 สมการลดรูป
 
2.2.3 ตัวอย่างการออกแบบวงจรดิจิตอล

สัปดาห์ที่ 4-5

 

3. การออกแบบฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์

   
3.1 ระบบประมวลผลกลางและการออกแบบระบบคอมพิวเตอร์
 
3.1.1 ตัวอย่างองค์ประกอบทางฮาร์ดแวร์
 
3.1.2 พื้นฐานและกลไกของคอมพิวเตอร์
  3.2 ประเภทของซอฟต์แวร์
  3.2.1 ชนิดของซอฟต์แวร์
  3.2.2 ความสัมพันธ์ของซอฟต์แวร์กับฮาร์ดแวร์

สัปดาห์ที่ 6

 

4. การเชื่อมประสานของฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์

  4.1 ความสำคัญในการเชื่อมต่อ
  4.1.1 การเชื่อมต่อกับอุปกรณ์ของฮาร์ดแวร์
  4.1.2 ตัวอย่างลักษณะสัญญาณการเชื่อมต่อ
  4.2 การเชื่อมต่อ
  4.2.1 มาตรฐานการเชื่อมต่อแบบต่างๆ
  4.2.2 อธิบายกลไกและการเชื่อมต่อแบบต่างๆ

สัปดาห์ที่ 7

 
สอบกลางภาค
 

สัปดาห์ที่ 8-9

 
5. หน่วยปฏิบัติการและควบคุม

 

  5.1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับหน่วยประมวลผลกลาง
  5.1.1 ความหมาย
  5.1.2 ประโยชน์
  5.2 สถาปัตยกรรมภายนอก
  5.2.1 ความหมายของสถาปัตยกรรมภายนอก
  5.2.2 รายละเอียดของสถาปัตยกรรมภายนอก
  5.3 สถาปัตยกรรมภายใน
  5.2.1 ความหมายของสถาปัตยกรรมภายใน
  5.2.2 รายละเอียดของสถาปัตยกรรมภายใน

สัปดาห์ที่ 10-11

 
6. การส่งผ่านข้อมูล

 

  6.1 I/O PORT
  6.1.1 ลักษณะ
  6.1.2 ประโยชน์
  6.2 Serial I/O PORT
  6.2.1 ข้อดีและข้อเสีย
  6.2.2 ลักษณะการทำงาน
  6.3 Parallel I/O PORT
  6.3.1 ข้อดีและข้อเสีย
  6.3.2 ลักษณะการทำงาน

สัปดาห์ที่ 12-13

 
7. หน่วยความจำของระบบ
 
  7.1 พื้นฐานของหน่วยความจำ
  7.1.1 ความหมาย
  7.1.2 ตัวอย่าง
  7.1.3 คุณสมบัติ
  7.2 หน่วยความจำแบบ NON Volatile
  7.2.1 ลักษณะหน่วยความจำแบบ ROM
  7.3 หน่วยความจำแบบ Volatile
  7.3.1 ลักษณะหน่วยความจำแบบ RAM
  7.3.2 ประเภทของหน่วยความจำแบบ RAM
  7.3.1 อธิบายการทำงาน RAM
  7.4 พัฒนาการของหน่วยความจำยุคปัจจุบัน
  7.4.1 ตัวอย่างการพัฒนาหน่วยความจำ
  7.4.3 ความสัมพันธ์ของโปรแกรมระบบกับหน่วยความจำ

สัปดาห์ที่ 14-15

 
8. ระบบข้อมูลนำเข้า-แสดงผล
    8.1 อุปกรณ์นำเข้า
  8.1.1 ความหมาย
  8.1.2 ตัวอย่างชนิดต่างๆ
  8.2 อุปกรณ์แสดงผล
  8.2.1 ความหมาย
  8.2.2 ตัวอย่างชนิดต่างๆ
  8.3 ระบบบัสต่าง ๆ
  8.4 เทคโนโลยีที่เกี่ยวข้อง

สัปดาห์ที่ 15

 
ทบทวน บทเรียน สรุป ตอบข้อซักถาม

สัปดาห์ที่ 16

 
สอบปลายภาค (กรณีสอบนอกตาราง)

การวัดและประเมินผล

 
1.1. วัดความเข้าใจ และความสามารถในการเรียน
 
2.วัดความสามารถนำเสนอกรณีศึกษาด้านการจัดการตามหลักการการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
 
3.วัดความสามารถในการศึกษาแนวทางของระบบ
 
4.วัดความเข้าใจในการวางระบบพื้นฐานของระบบคอมพิวเตอร์ และระบบปฏิบัติงาน การทำงานของอุปกรณ์คอมพิวเตอร์
 
 5.วัดความสามารถในการนำเสนองานและอธิบายความเข้าใจที่ได้รับจากการเรียบแบบสรุป

การวัดผล

 
คะแนนเต็ม 100 แบ่งเป็น  2 ส่วน ดังนี้
   
1.คะแนนระหว่างภาคร้อยละ       70
 
    1.1 แบบฝึกหัด/รายงานและฝึกปฏิบัติร้อยละ              
30
 
    1.2 การมีส่วนร่วมกิจกรรมต่างๆในชั้นเรียนร้อยละ       
10
       1.3 สอบเก็บคะแนนร้อย                                          30
 
2. คะแนนสอบปลายภาคร้อยละ   30
 
 

การประเมินผล

 
เกณฑ์การประเมินผล ใช้วิธีอิงเกณฑ์ ดังนี้
   
ระดับการเรียน  
ค่าร้อยละ   ความหมายค่า  ระดับคะแนน
   
A        
95-100 ดีเยี่ยม 4.00
   
B+
85-89 ดีมาก 3.50
   
B 
75-84 ดี 3.00
   
C+
70-74 ดีพอใช้ 2.50
   
C
60-69 พอใช้ 2.00
   
D+
59-55 อ่อน 1.50
   
D
50-54 อ่อนมาก 1.00
   
F
ต่ำกว่า 50 ตก 0.00
     
    งานที่มอบหมาย
    ให้ทุกคนตรวจสอบอีเมล์ของนักศึกษา โดยใช้ อีเมล์ที่ขึ้นต้นด้วย u ตามด้วยรหัสประจำตัวนักศึกษาเช่น นายสนุก  รักการเรียน รหัสประจำตัว 491127620001 อีเมล์ที่ต้องสมัครและใช้ในการส่งข้อมูลคือ u491127620001@hotmail.com และ ควรใช้ชื่อที่สมัครเป็นภาษาอังกฤษ เช่น SNOOK  LUCKKANLEAN

1.

   
          2.    

3

   

4.

   
     
     
     
     
    เอกสาร-สื่อที่ใช้ในการอ้างอิงประกอบการเรียน
1.  
1.เอกสารตำรา/หนังสือประกอบการสอน
   

ไพศาล โมลิสกุลมงคลและคณะ.(2547).สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์.กรุงเทพมหานคร :

        ไทยเจริญการพิมพ์         

 

ฉัตรชัย  สุมามาลย์.(2545).การสื่อสารข้อมูล คอมพิวเตอร์และเครือข่าย.

      กรุงเทพมหานคร:ไทยเจริญการพิมพ์

 

วิทยา สุคตบวร.(2545).คู่มือโครงสร้างและระบบไมโครคอมพิวเตอร์.กรุงเทพมหานคร:

        ส.ส.ท. .

 

อนิรุทธิ์  รัชตะวราห์และวศิน  เพิ่มทรัพย์.(2543).ผ่าคอมพิวเตอร์.กรุงเทพมหานคร :

        ด่านสุธาการพิมพ์.

   
   
   
2.  
1.โปรแกรม MS-POWERPOINT
3.  
1.CD-ROM
4.  
1.WEBSITE
5.  
1.กรณีศึกษาด้านระบบคอมพิวเตอร์และสถาปัตยกรรม
6.  
1.เอกสารประกอบการบรรยาย ตัวอย่างโปรแกรม
     
     
     
     

 

+ up .

 

 

 

เอกสารรวมทุกบทเรียน

 

เอกสารรายบทเรียน

 

บทที่ 1 พื้นฐานสถาปัตกยกรรมคอมพิวเตอร์

บทที่ 2 ข้อมูล (Data)

บทที่ 3 การคำนวณทางคณิตศาสตร์ หน่วยประมวลผลทางคณิตศาสตร์ (ALU)

บทที่ 4 ชุดคำสั่ง (Instruction Sets)

บทที่ 5 การออกแบบโปรเซสเซอร์ (Processor Design)

บทที่ 6 Pipeline, Scalar & vector Processor

บทที่ 7 หน่วยความจำหลัก (Main Memory)

บทที่ 8 แคชและหน่วยความจำเสมือน (Cache and Virtual Memory)

บทที่ 9 สื่อจัดเก็บข้อมูล (Mass Storage)

บทที่ 10 บัสและอินเทอร์เฟซ (Bus and Interface)

บทที่ 11 หน่วยนำเข้าและแสดงผลลัพธ์ (Input / Output)

บทที่ 12 หน่วยควบคุมและเส้นทางข้อมูล (Control Unit and Data Path)

บทที่ 13 การสื่อสาร เครือข่าย และอินเทอร์เน็ต (Communication, Networks and Internet)

บทที่ 14 Multiprocessors

บทที่ 15 ระบบปฏิบัติการ (Operating Systems)